วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

การถ่ายทอดตัวอักษร

การถ่ายทอดตัวอักษร
 (Transliteration)
                การถ่ายทอดตัวอักษร เป็นการนำคำในภาษาหนึ่งมาเขียนด้วยตัวอักษรของอีกภาษาหนึ่ง โดยการเขียนภาษาใหม่ถ่ายทอดโดย เสียงของคำในภาษาเดิมให้ใกล้เคียงที่สุด การถ่ายทอดตัวอักษรได้ก็ต่อเมื่อในภาษาต้นฉบับมีคำที่ใช้แทนชื่อเฉพาะของสิ่งต่างๆและเมื่อคำในภาษาต้นฉบับมีความหมายอ้างอิงถึงสิ่งที่เป็นรูปธรรมหรือนามธรรมที่ไม่มีในสังคมของภาษาฉบับแปลจึงไม่มีคำเทียบเคียงให้ เช่นคำว่า “Football”  ในภาษาไทยให้คำนิยามว่า ลูกกลมๆทำด้วยหนังหรือใช้คำทับศัพท์ว่า ฟุตบอลในการทำเช่นนี้ผู้แปลควรยึดหลักปฏิบัติในการถ่ายทอดเสียงดังนี้
1. ให้อ่านคำนั้นเพื่อให้รู้ว่าคำนั้นออกเสียงอย่างไรประกอบด้วยเสียงอะไรบ้างแล้วห้าตัวอักษรในภาษาฉบับแรกที่มีเสียงใกล้เคียงกันมาแล้วเขียนแทนเสียงนั้นๆ
2. ภาษาทุกภาษาจะมีเสียงพยัญชนะและตรงกันเป็นส่วนมากและผู้แปลจะหาตัวอักษรมาเขียนแทนได้เลยเช่นการใช้พอพานแทนเสียงแรกในคำว่าพอเป็นต้นแต่ก็จะมีเสียงจำนวนหนึ่งซึ่งไม่มีอักษรที่แทนเสียงตรงกับในฉบับแปล
3 เมื่อกำหนดตัวอักษรตัวได้ตัวหนึ่งแผ่นเสียงใดเสียงหนึ่งแล้วให้ใช้ตัวนั้นตลอดไปอย่าเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาไม่แน่นอนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบทแรกบทเดียวกันต้องใช่รักการถ่ายทอดอย่างเดียวตลอดไป
 4 สำหรับการยืมคำศัพท์มาใช้โดยเขียนลงเป็นภาษาฉบับแปลถ้าคำคำนั้นยังไม่เป็นที่แพร่หลายให้วงเล็บพร้อมดื่มในต้นฉบับไว้ด้วย

                B-H

ตัวอักษร
พยัญชนะขึ้นต้น
ตัวอย่าง
พยัญชนะลงท้าย
ตัวอย่าง
หมายเหตุ
b
base = เบส
Gibb = กิบบ์

c
cubic = คิวบิก

ca, co, cu, cl, cr
cat = แคต
cone = โคน
Cuba = คิวบา
Cleo = คลีโอ
crown = คราวน์



ce
cell = เซลล์
Greece = กรีซ

ci, cy
cigar = ซิการ์
cyclone = ไซโคลน



c (ออกเสียง ช)
glacier = เกลเชียร์
รากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส
หมายเหตุ คำที่พยางค์สุดท้ายเป็น ca, co และ cer (ที่ออกเสียงเกอร์) ซึ่งไทยเรานิยมใช้เสียง ก ให้ใช้ กตัวอย่าง America = อเมริกา, disco = ดิสโก, soccer = ซอกเกอร์
ch (ออกเสียง ช)
Chicago = ชิคาโก
Beach = บีช

ch (ออกเสียง ค)
Chios = คิออส
Angioch = แอนติออก
รากศัพท์มาจากภาษากรีก
ck
Brunswick = บรันสวิก

หมายเหตุ ck เมื่อเป็นตัวสะกดและพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไปให้ใช้ กก ตัวอย่าง Rocky = รอกกี, locket = ล็อกเกต
d
dextrin = เดกซ์ทริน
Dead Sea = เดดซี

f
Fox = ฟอกซ์
Clifion = คลิฟตัน

g
magnesium = แมกนีเซียม

ga, ge*, gi*, go, gu, gl, gr
galaxy = กาแล็กซี
forget-me-not = ฟอร์เกตมีนอต
gift = กิฟต์
golf = กอล์ฟ
gulf = กัลฟ์
Gladstone = แกลดสโตน
grand = แกรนด์
rogue = โรก
* ge และ gi บางคำออกเสียง ก บางคำออกเสียง จ
ge*, gi*, gy
gestagen = เจสตาเจน
engineer = เอนจิเนียร์
gyro = ไจโร
rouge = รูจ

gh
ghetto = เกตโต
,
Gough = กอฟ
Pittsburgh = พิตส์เบิร์ก

gh (ไม่ออกเสียง)
Hugh = ฮิว

gn (g ไม่ออกเสียง)
gneiss = ไนส์
design = ดีไซน์
หมายเหตุ gn ถ้าเป็นตัวสะกดและพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป แล้วออกเสียง /ñ/ ใช้ นญ ตัวอย่างBologna = โบโลนญา, Cognac = คอนญัก
h
Haematite = ฮีมาไทต์



h (ไม่ออกเสียง)
honour = ออเนอร์
John = จอห์น

J-S
ตัวอักษร
พยัญชนะขึ้นต้น
ตัวอย่าง
พยัญชนะลงท้าย
ตัวอย่าง
หมายเหตุ
j
Jim = จิม


คำอังกฤษแท้ไม่มีการลงท้ายด้วย j
k
Kansas = แคนซัส
York = ยอร์ก

k (เมื่อเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์สุดท้าย)
bunker = บังเกอร์
market = มาร์เกต
Yankee = แยงกี

kh
khartoum = คาร์ทูม
Sikh = ซิก

l
locket = ล็อกเกต
Shell = เชลล์

m
micro = ไมโคร
Tom = ทอม

n
nucleus = นิวเคลียส
cyclone = ไซโคลน

หมายเหตุ n เมื่อเป็นตัวสะกดและมีพยัญชนะ c, ch, g, k, qu ฯลฯ ตามแล้วทำให้เสียง n ที่เป็นตัวสะกดออกเสียงเป็น ง ให้ถอด n เป็น ง ตัวอย่าง Anglo-Saxon = แองโกลแซกซัน, function = ฟังก์ชัน, parenchyma = พาเรงคิมา, Frank = แฟรงก์
p
parabola = พาราโบลา
capsule = แคปซูล

หมายเหตุ p เมื่อเป็นพยัญชนะต้นให้ใช้ พ โดยตลอด ยกเว้นกลุ่มพยัญชนะบางกลุ่มที่ไทย นิยมใช้เสียง ป ให้ใช้ ป ดังนี้ super-; -pa, -pean, -per, -pia, -pic, -ping, -pion, -po, -pus และ -py ตัวอย่าง superman = ซูเปอร์แมน, Europa = ยูโรปา, bumper = บัมเปอร์, topic = ทอปปิก, shopping = ชอปปิง, hippy = ฮิปปี, hippo = ฮิปโป, olympus = โอลิมปัส
ph
phosphorous = ฟอสฟอรัส
graph = กราฟ

q
Qatar = กาตาร์
Iraq = อิรัก

qu (ออกเสียง คว)
คว
Quebec = ควิเบก

qu (ออกเสียง ค)
Liquor = ลิเคอร์
Mozambique = โมซัมบิก

r
radium = เรเดียม
barley = บาร์เลย์
เสียง r ไม่ใช่เสียงสะกด แต่เมื่อลงท้ายให้ใช้ทัณฑฆาตเพื่อให้เสียง /ɹ/ ยังอยู่
rh
rhodonite = โรโดไนต์
murrha = เมอร์รา
myrrh = เมอรห์
รากศัพท์มาจากภาษากรีก
s
Lagos = ลากอส

s+สระ
silicon = ซิลิคอน



s+พยัญชนะ
Sweden = สวีเดน



s (ออกเสียง ช)
Asia = เอเชีย



son (อยู่ท้ายชื่อ)
สัน
Johnson = จอห์นสัน



's
ส์
King's Cup = คิงส์คัป

sc (ออกเสียง ซ)
scene = ซีน



sc (ออกเสียง สก)
สก
screw = สกรูว
สก
disc = ดิสก์

sch (ออกเสียง ซ)
scheelite = ซีไลต์



sch (ออกเสียง ช)
schism = ชิซึม



sch (ออกเสียง สก)
สก
school = สกูล



sh
shamal = ชามาล
harsh = ฮาร์ช

sm
ซึม
protoplasm = โพรโทพลาซึม

sk
สก
skyros = สกิรอส
สก
task = ทาสก์

sp
สป
spray = สเปรย์
spore = สปอร์



st
สต
Stanford = สแตนฟอร์ด
strip = สตริป



หมายเหตุ sc sk sp และ st ที่ถอดเป็น สก, สก, สป, และ สต ตามลำดับ ถ้า s อยู่กลางศัพท์ และเป็นตัวสะกดของพยางค์หน้า ให้ถอด c k p และ t นั้น เป็น ค ค พ และ ท ตัวอย่าง Wisconsin = วิสคอนซิน, Muskegon = มัสคีกัน, asparagus = แอสพารากัส, distemper = ดิสเทมเปอร์
T-Z
ตัวอักษร
พยัญชนะขึ้นต้น
ตัวอย่าง
พยัญชนะลงท้าย
ตัวอย่าง
หมายเหตุ
t
Tasmania = แทสเมเนีย
trombone = ทรอมโบน
Kuwait = คูเวต

หมายเหตุ t เมื่อเป็นพยัญชนะต้น ใช้ ท โดยตลอด ยกเว้นกลุ่มพยัญชนะบางกลุ่มที่ไทยเรานิยมใช้เสียง ต ให้ใช้ ต ดังนี้ anti-, auto-, inter-, multi-, photo-; -ta, -ter, -ti, -tic, -ting, -tis, -to, -ton, -tor, -tre, -tum, -tus และ -ty ตัวอย่าง antibody = แอนติบอดี, intercom = อินเตอร์คอม, computer = คอมพิวเตอร์, quantum = ควอนตัม, zygomata = ไซโกมาตา
th
thorium = ทอเรียม
zenith = เซนิท

th
This = ดิส

thm
ทึม
biorhythm = ไบโอริทึม
logarithm = ลอการิทึม

ti (ออกเสียง ช)
nation = เนชัน
strontium = สตรอนเชียม

v
volt = โวลต์
love = เลิฟ
perovskite = เพอรอฟสไกต์

v (เมื่อเป็นตัวสะกดของพยางค์ต้นและเป็นตัวนำของพยางค์ต่อไปด้วย)
ฟว
Livingstone = ลิฟวิงสโตน
w
Wales = เวลส์
cowboy = คาวบอย

wh (ออกเสียง ว)
White = ไวต์

wh (ออกเสียง ฮ)
Whewell = ฮิวเอลล์

x
Xenon = ซีนอน
กซ
boxer = บอกเซอร์
oxford = ออกซฟอร์ด
onyx = โอนิกซ์

y
Yale = เยล
key = คีย์

z
zone = โซน
Vaduz = วาดุซ

ตัวอักษร
การเขียนตัวอักษร
A = เอ
B = บี
C = ซี
D = ดี
E = อี
F = เอฟ
G = จี
H = เอช
I = ไอ
J = เจ
K = เค
L = แอล
M = เอ็ม
N = เอ็น
O = โอ
P = พี
Q = คิว
R = อาร์
S = เอส
T = ที
U = ยู
V = วี
W = ดับเบิลยู
X = เอกซ์
Y = วาย
Z = แซด
·         H ออกเสียง เอช สำหรับเสียง เฮช ในบางสำเนียง เช่น ในไอร์แลนด์และออสเตรเลีย ตามเสียงการออกเสียงของตัวอักษร
·         Z ออกเสียง แซด ในประเทศยุโรปตามที่มาจากอักษรกรีก ซีตา (ζ) ในสหรัฐอเมริกาออกเสียง


ซึ่งการถ่ายทอดตัวอักษรนี้ เป็นระบบหนึ่งในการเขียน ถ่ายทอดโดยผ่านเสียงของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาเดิมไว้ ผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษจำเป็นต้องรู้หลักการถ่ายทอดตัวอักษรที่ถูกต้อง เพื่อที่จะสามารถนำไปใช้งานได้อย่างถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็นการใช้ในงานเขียนต่างๆ คำบางคำหากสะกดผิดไปเพียงตัวเดียวก็อาจจะทำให้ความหมายเปลี่ยนไปทั้งหมดได้ ซึ่งในการถ่ายทอดตัวอักษรนี้ล้วนมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ผู้ใช้ภาษาจำเป็นต้องใช้เรียนรู้หลักการที่ถูกต้องเพื่อนำไปใช้อย่างเหมาะสมต่อไป  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

การถ่ายทอดตัวอักษร

การถ่ายทอดตัวอักษร
 (Transliteration)
                การถ่ายทอดตัวอักษร เป็นการนำคำในภาษาหนึ่งมาเขียนด้วยตัวอักษรของอีกภาษาหนึ่ง โดยการเขียนภาษาใหม่ถ่ายทอดโดย เสียงของคำในภาษาเดิมให้ใกล้เคียงที่สุด การถ่ายทอดตัวอักษรได้ก็ต่อเมื่อในภาษาต้นฉบับมีคำที่ใช้แทนชื่อเฉพาะของสิ่งต่างๆและเมื่อคำในภาษาต้นฉบับมีความหมายอ้างอิงถึงสิ่งที่เป็นรูปธรรมหรือนามธรรมที่ไม่มีในสังคมของภาษาฉบับแปลจึงไม่มีคำเทียบเคียงให้ เช่นคำว่า “Football”  ในภาษาไทยให้คำนิยามว่า ลูกกลมๆทำด้วยหนังหรือใช้คำทับศัพท์ว่า ฟุตบอลในการทำเช่นนี้ผู้แปลควรยึดหลักปฏิบัติในการถ่ายทอดเสียงดังนี้
1. ให้อ่านคำนั้นเพื่อให้รู้ว่าคำนั้นออกเสียงอย่างไรประกอบด้วยเสียงอะไรบ้างแล้วห้าตัวอักษรในภาษาฉบับแรกที่มีเสียงใกล้เคียงกันมาแล้วเขียนแทนเสียงนั้นๆ
2. ภาษาทุกภาษาจะมีเสียงพยัญชนะและตรงกันเป็นส่วนมากและผู้แปลจะหาตัวอักษรมาเขียนแทนได้เลยเช่นการใช้พอพานแทนเสียงแรกในคำว่าพอเป็นต้นแต่ก็จะมีเสียงจำนวนหนึ่งซึ่งไม่มีอักษรที่แทนเสียงตรงกับในฉบับแปล
3 เมื่อกำหนดตัวอักษรตัวได้ตัวหนึ่งแผ่นเสียงใดเสียงหนึ่งแล้วให้ใช้ตัวนั้นตลอดไปอย่าเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาไม่แน่นอนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบทแรกบทเดียวกันต้องใช่รักการถ่ายทอดอย่างเดียวตลอดไป
 4 สำหรับการยืมคำศัพท์มาใช้โดยเขียนลงเป็นภาษาฉบับแปลถ้าคำคำนั้นยังไม่เป็นที่แพร่หลายให้วงเล็บพร้อมดื่มในต้นฉบับไว้ด้วย

                B-H

ตัวอักษร
พยัญชนะขึ้นต้น
ตัวอย่าง
พยัญชนะลงท้าย
ตัวอย่าง
หมายเหตุ
b
base = เบส
Gibb = กิบบ์

c
cubic = คิวบิก

ca, co, cu, cl, cr
cat = แคต
cone = โคน
Cuba = คิวบา
Cleo = คลีโอ
crown = คราวน์



ce
cell = เซลล์
Greece = กรีซ

ci, cy
cigar = ซิการ์
cyclone = ไซโคลน



c (ออกเสียง ช)
glacier = เกลเชียร์
รากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส
หมายเหตุ คำที่พยางค์สุดท้ายเป็น ca, co และ cer (ที่ออกเสียงเกอร์) ซึ่งไทยเรานิยมใช้เสียง ก ให้ใช้ กตัวอย่าง America = อเมริกา, disco = ดิสโก, soccer = ซอกเกอร์
ch (ออกเสียง ช)
Chicago = ชิคาโก
Beach = บีช

ch (ออกเสียง ค)
Chios = คิออส
Angioch = แอนติออก
รากศัพท์มาจากภาษากรีก
ck
Brunswick = บรันสวิก

หมายเหตุ ck เมื่อเป็นตัวสะกดและพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไปให้ใช้ กก ตัวอย่าง Rocky = รอกกี, locket = ล็อกเกต
d
dextrin = เดกซ์ทริน
Dead Sea = เดดซี

f
Fox = ฟอกซ์
Clifion = คลิฟตัน

g
magnesium = แมกนีเซียม

ga, ge*, gi*, go, gu, gl, gr
galaxy = กาแล็กซี
forget-me-not = ฟอร์เกตมีนอต
gift = กิฟต์
golf = กอล์ฟ
gulf = กัลฟ์
Gladstone = แกลดสโตน
grand = แกรนด์
rogue = โรก
* ge และ gi บางคำออกเสียง ก บางคำออกเสียง จ
ge*, gi*, gy
gestagen = เจสตาเจน
engineer = เอนจิเนียร์
gyro = ไจโร
rouge = รูจ

gh
ghetto = เกตโต
,
Gough = กอฟ
Pittsburgh = พิตส์เบิร์ก

gh (ไม่ออกเสียง)
Hugh = ฮิว

gn (g ไม่ออกเสียง)
gneiss = ไนส์
design = ดีไซน์
หมายเหตุ gn ถ้าเป็นตัวสะกดและพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป แล้วออกเสียง /ñ/ ใช้ นญ ตัวอย่างBologna = โบโลนญา, Cognac = คอนญัก
h
Haematite = ฮีมาไทต์



h (ไม่ออกเสียง)
honour = ออเนอร์
John = จอห์น

J-S
ตัวอักษร
พยัญชนะขึ้นต้น
ตัวอย่าง
พยัญชนะลงท้าย
ตัวอย่าง
หมายเหตุ
j
Jim = จิม


คำอังกฤษแท้ไม่มีการลงท้ายด้วย j
k
Kansas = แคนซัส
York = ยอร์ก

k (เมื่อเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์สุดท้าย)
bunker = บังเกอร์
market = มาร์เกต
Yankee = แยงกี

kh
khartoum = คาร์ทูม
Sikh = ซิก

l
locket = ล็อกเกต
Shell = เชลล์

m
micro = ไมโคร
Tom = ทอม

n
nucleus = นิวเคลียส
cyclone = ไซโคลน

หมายเหตุ n เมื่อเป็นตัวสะกดและมีพยัญชนะ c, ch, g, k, qu ฯลฯ ตามแล้วทำให้เสียง n ที่เป็นตัวสะกดออกเสียงเป็น ง ให้ถอด n เป็น ง ตัวอย่าง Anglo-Saxon = แองโกลแซกซัน, function = ฟังก์ชัน, parenchyma = พาเรงคิมา, Frank = แฟรงก์
p
parabola = พาราโบลา
capsule = แคปซูล

หมายเหตุ p เมื่อเป็นพยัญชนะต้นให้ใช้ พ โดยตลอด ยกเว้นกลุ่มพยัญชนะบางกลุ่มที่ไทย นิยมใช้เสียง ป ให้ใช้ ป ดังนี้ super-; -pa, -pean, -per, -pia, -pic, -ping, -pion, -po, -pus และ -py ตัวอย่าง superman = ซูเปอร์แมน, Europa = ยูโรปา, bumper = บัมเปอร์, topic = ทอปปิก, shopping = ชอปปิง, hippy = ฮิปปี, hippo = ฮิปโป, olympus = โอลิมปัส
ph
phosphorous = ฟอสฟอรัส
graph = กราฟ

q
Qatar = กาตาร์
Iraq = อิรัก

qu (ออกเสียง คว)
คว
Quebec = ควิเบก

qu (ออกเสียง ค)
Liquor = ลิเคอร์
Mozambique = โมซัมบิก

r
radium = เรเดียม
barley = บาร์เลย์
เสียง r ไม่ใช่เสียงสะกด แต่เมื่อลงท้ายให้ใช้ทัณฑฆาตเพื่อให้เสียง /ɹ/ ยังอยู่
rh
rhodonite = โรโดไนต์
murrha = เมอร์รา
myrrh = เมอรห์
รากศัพท์มาจากภาษากรีก
s
Lagos = ลากอส

s+สระ
silicon = ซิลิคอน



s+พยัญชนะ
Sweden = สวีเดน



s (ออกเสียง ช)
Asia = เอเชีย



son (อยู่ท้ายชื่อ)
สัน
Johnson = จอห์นสัน



's
ส์
King's Cup = คิงส์คัป

sc (ออกเสียง ซ)
scene = ซีน



sc (ออกเสียง สก)
สก
screw = สกรูว
สก
disc = ดิสก์

sch (ออกเสียง ซ)
scheelite = ซีไลต์



sch (ออกเสียง ช)
schism = ชิซึม



sch (ออกเสียง สก)
สก
school = สกูล



sh
shamal = ชามาล
harsh = ฮาร์ช

sm
ซึม
protoplasm = โพรโทพลาซึม

sk
สก
skyros = สกิรอส
สก
task = ทาสก์

sp
สป
spray = สเปรย์
spore = สปอร์



st
สต
Stanford = สแตนฟอร์ด
strip = สตริป



หมายเหตุ sc sk sp และ st ที่ถอดเป็น สก, สก, สป, และ สต ตามลำดับ ถ้า s อยู่กลางศัพท์ และเป็นตัวสะกดของพยางค์หน้า ให้ถอด c k p และ t นั้น เป็น ค ค พ และ ท ตัวอย่าง Wisconsin = วิสคอนซิน, Muskegon = มัสคีกัน, asparagus = แอสพารากัส, distemper = ดิสเทมเปอร์
T-Z
ตัวอักษร
พยัญชนะขึ้นต้น
ตัวอย่าง
พยัญชนะลงท้าย
ตัวอย่าง
หมายเหตุ
t
Tasmania = แทสเมเนีย
trombone = ทรอมโบน
Kuwait = คูเวต

หมายเหตุ t เมื่อเป็นพยัญชนะต้น ใช้ ท โดยตลอด ยกเว้นกลุ่มพยัญชนะบางกลุ่มที่ไทยเรานิยมใช้เสียง ต ให้ใช้ ต ดังนี้ anti-, auto-, inter-, multi-, photo-; -ta, -ter, -ti, -tic, -ting, -tis, -to, -ton, -tor, -tre, -tum, -tus และ -ty ตัวอย่าง antibody = แอนติบอดี, intercom = อินเตอร์คอม, computer = คอมพิวเตอร์, quantum = ควอนตัม, zygomata = ไซโกมาตา
th
thorium = ทอเรียม
zenith = เซนิท

th
This = ดิส

thm
ทึม
biorhythm = ไบโอริทึม
logarithm = ลอการิทึม

ti (ออกเสียง ช)
nation = เนชัน
strontium = สตรอนเชียม

v
volt = โวลต์
love = เลิฟ
perovskite = เพอรอฟสไกต์

v (เมื่อเป็นตัวสะกดของพยางค์ต้นและเป็นตัวนำของพยางค์ต่อไปด้วย)
ฟว
Livingstone = ลิฟวิงสโตน
w
Wales = เวลส์
cowboy = คาวบอย

wh (ออกเสียง ว)
White = ไวต์

wh (ออกเสียง ฮ)
Whewell = ฮิวเอลล์

x
Xenon = ซีนอน
กซ
boxer = บอกเซอร์
oxford = ออกซฟอร์ด
onyx = โอนิกซ์

y
Yale = เยล
key = คีย์

z
zone = โซน
Vaduz = วาดุซ

ตัวอักษร
การเขียนตัวอักษร
A = เอ
B = บี
C = ซี
D = ดี
E = อี
F = เอฟ
G = จี
H = เอช
I = ไอ
J = เจ
K = เค
L = แอล
M = เอ็ม
N = เอ็น
O = โอ
P = พี
Q = คิว
R = อาร์
S = เอส
T = ที
U = ยู
V = วี
W = ดับเบิลยู
X = เอกซ์
Y = วาย
Z = แซด
·         H ออกเสียง เอช สำหรับเสียง เฮช ในบางสำเนียง เช่น ในไอร์แลนด์และออสเตรเลีย ตามเสียงการออกเสียงของตัวอักษร
·         Z ออกเสียง แซด ในประเทศยุโรปตามที่มาจากอักษรกรีก ซีตา (ζ) ในสหรัฐอเมริกาออกเสียง


ซึ่งการถ่ายทอดตัวอักษรนี้ เป็นระบบหนึ่งในการเขียน ถ่ายทอดโดยผ่านเสียงของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาเดิมไว้ ผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษจำเป็นต้องรู้หลักการถ่ายทอดตัวอักษรที่ถูกต้อง เพื่อที่จะสามารถนำไปใช้งานได้อย่างถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็นการใช้ในงานเขียนต่างๆ คำบางคำหากสะกดผิดไปเพียงตัวเดียวก็อาจจะทำให้ความหมายเปลี่ยนไปทั้งหมดได้ ซึ่งในการถ่ายทอดตัวอักษรนี้ล้วนมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ผู้ใช้ภาษาจำเป็นต้องใช้เรียนรู้หลักการที่ถูกต้องเพื่อนำไปใช้อย่างเหมาะสมต่อไป  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น