วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Learning Log 12 การเรียนรู้นอกชั้นเรียน (ภาคเช้า) 29 ตุลาคม 2558

Learning Log 12
  การเรียนรู้นอกชั้นเรียน
                การอบรมเทคนิคการสอนภาษาอังกฤษแบบบูรณาการทักษะ  วิทยากรโดย ผศ.ดร. ศิตา เยี่ยมขันติถาวร  ในภาคเช้าวันที่ 29 ตุลาคม 2558  เป็นการเสวนาวิชาการงานวิจัยในหัวข้อ Beyond Language Learning  โดย ดร.สุจินต์ หนูแก้ว , อาจารย์สุนทร บุญแก้ว ,  และผศ.ดร. ประกาศิต สิทธิ์ธิติกุล เป็นผู้เสวนา สรุปสิ่งที่ได้จากการฟังในหัวข้อ Beyond Language Learning :  การเรียนรู้แบบ Beyond Language Learning  คุณสมบัติในการเรียนรู้จะต้องมีความเกี่ยวข้องกันกับ 5c ดังนี้ Communication การติดต่อสื่อสาร , Culture วัฒนธรรม , Cantention การต่อสู้, Comparison การเปรียบเทียบ และ Communication –Local Laguge เกี่ยวกับการสื่อสาร ซึ่งทุกอย่างล้วนเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันหมด  แต่บุคคลในศตวรรษที่ 21 ความสามารถในการอ่าน , เขียน ,  คิด  , คำนวณ ในปัจจุบันการอ่านเยอะที่สุด , think skill มีความสำคัญมากและคุณสมบัติในยุคศตวรรษที่ 21 ควรมี 3R 7C   : 3ได้แก่ Reading (อ่านออก), (W) Riting (เขียนได้)  (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)  : 7C ได้แก่ Critical thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ) Communications, information & media literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) Computing & ICT literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) ในยุคศตวรรษที่ 21 คนเป็นครูควรนำไปประยุกต์ใช้พัฒนาตัวเองให้มีศักยภาพมากขึ้นในด้านต่างๆ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นการเรียนภาษาอังกฤษ เด็กต้องมีความพร้อม, ต้องให้ผู้เรียนรู้ว่าเรียนเพื่ออะไร? , กระบวนการวิธีการควรทำอย่างไร? , สภาพแวดล้อมอื้อต่อการเรียนรู้ , เด็กต้องเกิดแรงจูงใจ ,  นอกจากนั้นการพัฒนาความคิด (analytical skill ) ก็ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ : analyzing การวิเคราะห์ , analytical think skill เป็นการคิดวิเคราะห์และเด็กคิดแล้วสามารถแก้ไขปัญหาได้
                นอกจากนั้นดร.สุจินต์ หนูแก้ว ได้พูดถึงการพัฒนาการเรียนการสอนว่า การพัฒนามี 2 วิธี : 1)พัฒนาในห้องเรียน : มีการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข ตกแต่งเพิ่มเติมห้องเรียนให้มีแรงจูงใจในการเรียน ห้องเรียนอากาศถ่ายเทได้สะดวก บริเวณภายในห้องมีสื่อที่น่าสนใจ 2) พัฒนาเพื่อให้เด็กได้ฝึก : พัฒนา ปรับปรุง แก้ไข สื่อการเรียนการสอน ให้เหมาะสมกับเด็ก สื่อนั้นมีคุณภาพ สามารถพัฒนาเด็กได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ถ้านักเรียนมีการพัฒนาฝึกฝนบ่อยๆ นักเรียนสามารถคิดได้ ทั้งการคิดอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดประโยชน์และแก้ปัญหาได้ มีการพัฒนาสื่อโดยการใช้ชุดฝึกสิ่งที่ทำให้เกิด Skill นั้น ผู้เรียนต้องทำสิ่งนั้นซ้ำๆ เหมือนอย่างภาษาก็ถือว่าเป็น Skill อย่างหนึ่ง เมื่อมีการใช้บ่อยๆก็จะเกิดความชำนาญและเชี่ยวชาญ เช่นเดียวกับความคิด ถ้าเรามีการฝึกทักษะการคิดให้นักเรียนบ่อยๆ เขาก็สามรถเป็นผู้ที่มีทักษะการคิดได้เหมือนกัน ความสามารถที่ผู้เรียนควรมีเพื่อให้เกิดการวิเคราะห์ได้ (analyzing) ขั้นของการวิเคราะห์ : 1) การจำแนกแยกเป็นตัวย่อยได้ 2 ) การจัดกลุ่มซึ่งสองอย่างนี้สามารถทำได้ก็ต่อเมื่อมีเกณฑ์ 3) การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ เช่น ความเหมือน- ความต่าง , การมีเหตุ-ผล เป็นต้น 4) การวิเคราะห์สภาพ ข้อคิด วิเคราะห์ความสำคัญ 5) การทำนายอนาคต : การพยากรณ์ , การคาดคะเน, การคาดการณ์: สิ่งเหล่านี้ที่กล่าวมาข้างต้นคือความสามารถย่อย ถ้าอาจารย์สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถเหล่านี้ได้แสดงว่านักเรียนได้ฝึกการวิเคราะห์แล้ว

                สรุปได้ว่า การที่ให้ผู้เรียนได้แบบ  Beyond Language Learning จากการวิจัยมี 2 วิธี  คือ 1 )อาจารย์พัฒนากิจกรรม 2) พัฒนาสื่อเพื่อให้เด็กฝึกโดยการมี การ analyzing และมีการพัฒนาแบบฝึก การพัฒนาแบบฝึกมีองค์ประกอบ 5 ข้อ : 1) ออกแบบฝึกหัดให้เด็กจำแนกเป็น 2) การจัดกลุ่ม 3)เชื่อมโยงความสัมพันธ์ 4) การวิเคราะห์สภาพ 5) การทำนายอนาคต ดังนั้นครูสามารถนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาและประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนของตัวเอง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Learning Log 12 การเรียนรู้นอกชั้นเรียน (ภาคเช้า) 29 ตุลาคม 2558

Learning Log 12
  การเรียนรู้นอกชั้นเรียน
                การอบรมเทคนิคการสอนภาษาอังกฤษแบบบูรณาการทักษะ  วิทยากรโดย ผศ.ดร. ศิตา เยี่ยมขันติถาวร  ในภาคเช้าวันที่ 29 ตุลาคม 2558  เป็นการเสวนาวิชาการงานวิจัยในหัวข้อ Beyond Language Learning  โดย ดร.สุจินต์ หนูแก้ว , อาจารย์สุนทร บุญแก้ว ,  และผศ.ดร. ประกาศิต สิทธิ์ธิติกุล เป็นผู้เสวนา สรุปสิ่งที่ได้จากการฟังในหัวข้อ Beyond Language Learning :  การเรียนรู้แบบ Beyond Language Learning  คุณสมบัติในการเรียนรู้จะต้องมีความเกี่ยวข้องกันกับ 5c ดังนี้ Communication การติดต่อสื่อสาร , Culture วัฒนธรรม , Cantention การต่อสู้, Comparison การเปรียบเทียบ และ Communication –Local Laguge เกี่ยวกับการสื่อสาร ซึ่งทุกอย่างล้วนเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันหมด  แต่บุคคลในศตวรรษที่ 21 ความสามารถในการอ่าน , เขียน ,  คิด  , คำนวณ ในปัจจุบันการอ่านเยอะที่สุด , think skill มีความสำคัญมากและคุณสมบัติในยุคศตวรรษที่ 21 ควรมี 3R 7C   : 3ได้แก่ Reading (อ่านออก), (W) Riting (เขียนได้)  (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)  : 7C ได้แก่ Critical thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ) Communications, information & media literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) Computing & ICT literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) ในยุคศตวรรษที่ 21 คนเป็นครูควรนำไปประยุกต์ใช้พัฒนาตัวเองให้มีศักยภาพมากขึ้นในด้านต่างๆ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นการเรียนภาษาอังกฤษ เด็กต้องมีความพร้อม, ต้องให้ผู้เรียนรู้ว่าเรียนเพื่ออะไร? , กระบวนการวิธีการควรทำอย่างไร? , สภาพแวดล้อมอื้อต่อการเรียนรู้ , เด็กต้องเกิดแรงจูงใจ ,  นอกจากนั้นการพัฒนาความคิด (analytical skill ) ก็ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ : analyzing การวิเคราะห์ , analytical think skill เป็นการคิดวิเคราะห์และเด็กคิดแล้วสามารถแก้ไขปัญหาได้
                นอกจากนั้นดร.สุจินต์ หนูแก้ว ได้พูดถึงการพัฒนาการเรียนการสอนว่า การพัฒนามี 2 วิธี : 1)พัฒนาในห้องเรียน : มีการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข ตกแต่งเพิ่มเติมห้องเรียนให้มีแรงจูงใจในการเรียน ห้องเรียนอากาศถ่ายเทได้สะดวก บริเวณภายในห้องมีสื่อที่น่าสนใจ 2) พัฒนาเพื่อให้เด็กได้ฝึก : พัฒนา ปรับปรุง แก้ไข สื่อการเรียนการสอน ให้เหมาะสมกับเด็ก สื่อนั้นมีคุณภาพ สามารถพัฒนาเด็กได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ถ้านักเรียนมีการพัฒนาฝึกฝนบ่อยๆ นักเรียนสามารถคิดได้ ทั้งการคิดอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดประโยชน์และแก้ปัญหาได้ มีการพัฒนาสื่อโดยการใช้ชุดฝึกสิ่งที่ทำให้เกิด Skill นั้น ผู้เรียนต้องทำสิ่งนั้นซ้ำๆ เหมือนอย่างภาษาก็ถือว่าเป็น Skill อย่างหนึ่ง เมื่อมีการใช้บ่อยๆก็จะเกิดความชำนาญและเชี่ยวชาญ เช่นเดียวกับความคิด ถ้าเรามีการฝึกทักษะการคิดให้นักเรียนบ่อยๆ เขาก็สามรถเป็นผู้ที่มีทักษะการคิดได้เหมือนกัน ความสามารถที่ผู้เรียนควรมีเพื่อให้เกิดการวิเคราะห์ได้ (analyzing) ขั้นของการวิเคราะห์ : 1) การจำแนกแยกเป็นตัวย่อยได้ 2 ) การจัดกลุ่มซึ่งสองอย่างนี้สามารถทำได้ก็ต่อเมื่อมีเกณฑ์ 3) การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ เช่น ความเหมือน- ความต่าง , การมีเหตุ-ผล เป็นต้น 4) การวิเคราะห์สภาพ ข้อคิด วิเคราะห์ความสำคัญ 5) การทำนายอนาคต : การพยากรณ์ , การคาดคะเน, การคาดการณ์: สิ่งเหล่านี้ที่กล่าวมาข้างต้นคือความสามารถย่อย ถ้าอาจารย์สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถเหล่านี้ได้แสดงว่านักเรียนได้ฝึกการวิเคราะห์แล้ว

                สรุปได้ว่า การที่ให้ผู้เรียนได้แบบ  Beyond Language Learning จากการวิจัยมี 2 วิธี  คือ 1 )อาจารย์พัฒนากิจกรรม 2) พัฒนาสื่อเพื่อให้เด็กฝึกโดยการมี การ analyzing และมีการพัฒนาแบบฝึก การพัฒนาแบบฝึกมีองค์ประกอบ 5 ข้อ : 1) ออกแบบฝึกหัดให้เด็กจำแนกเป็น 2) การจัดกลุ่ม 3)เชื่อมโยงความสัมพันธ์ 4) การวิเคราะห์สภาพ 5) การทำนายอนาคต ดังนั้นครูสามารถนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาและประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนของตัวเอง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น